บทที่
1สารและสมบัติของสาร
สารและสมบัติของสาร
บทที่
1 สารชีวโมเลกุล
สารชีวโมเลกุล
คือ
สารอินทรีย์ที่มีธาตุคาร์บอนและไฮโดรเจนเป็นองค์ประกอบหลัก
พบในสิ่งมีชีวิตเท่านั้น
สารชีวโมเลกุล
ได้แก่ โปรตีน
คาร์โบไฮเดรต ไขมัน และกรดนิวคลีอิก
องค์ประกอบของสารชีวโมเลกุล
ดังตาราง
สารชีวโมเลกุล
องค์ประกอบ
คาร์โบไฮเดรต
C H O
ไขมัน
C H O
โปรตีน
C H O N
กรดนิวคลีอิก
C H O N P
ไขมันและน้ำมัน
-
พบในเนื้อสัตว์ทุกชนิดและในเมล็ดพืช
-
ช่วยป้องกันการกระแทก
-
ป้องกันการสูญเสียความร้อนของร่างกาย
ให้ร่างกายอบอุ่น
-
ป้องกันการสูญเสียน้ำ
ทำให้ผิวหนังชุ่มชื้นไม่หยาบกร้าน
-
ช่วยให้ผมและเล็บมีสุขภาพดี
-
ช่วยละลายวิตามินหลายชนิดที่มีประโยชน์
เช่น A D
E K
-
สลายให้ได้พลังงาน
-
เป็นสารประกอบพวก
Triglycerides
-
กรดไขมันอิ่มตัว
และไม่อิ่มตัว
-
ทำปฏิกิริยากับไอโอดีน
ไฮโดรจิเนชั่น
( hydrogenation ) หมายถึง
ปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นระหว่างกรดไขมันไม่อิ่มตัว กับ
ไฮโดรเจนที่
ความดันสูง และมีตัวเร่งปฏิกิริยาที่เหมาะสม จะได้กรดไขมันอิ่มตัว
เนยเทียม
คือ
กรดไขมันอิ่มตัวหรือของแข็งที่ได้จากการเติมไฮโดรเจนลงในกรดไขมันไม่อิ่มตัว
กรดไขมันที่จำเป็น
( essential falty acids ) หมายถึง กรดไขมันที่มีพันธะคู่ระหว่าง
อะตอมคาร์บอน
ตั้งแต่
2
ตำแหน่งขึ้นไปร่างกายสังเคราะห์ไม่ได้
เรสเท คลออรอล
( cholesterol ) เป็นสารพวกไขมันที่พบในเลือดและส่วนต่าง ๆ
ของร่างกาย
ประโยชน์ของคลอเรสเทอรอล
1.
ใช้เป็นสารเบื้องต้น
( precursor ) ในการสร้างฮอร์โมนเพศทุกชนิด
2.
สร้างน้ำดี
3.
สร้างสารพวกสเตอรอลที่อยู่ใต้ผิวหนังและเปลี่ยนเป็นV it D เมื่อได้รับแสงอาทิตย์
4.
ฉนวนของเส้นประสาทต่าง
ๆ
โทษของคลอเรสเทอรอล
ทำให้เกิดการอุดตัน
ตามผนังหลอดเลือด ทำให้เป็นโรคหัวใจขาดเลือด
เป็นอัมพาต
สะพอนิฟิเคชั่น
( saponification )
เป็นปฏิกิริยาที่เกิดจากการต้มน้ำมันมะพร้าว
( ไตรกลีเซอไรด์
) กับเบสแก่โซเดียมไฮดรอก
ไซด์
ได้สารชนิดใหม่คือ สบู่
ไตรกลีเซอไรด์
+
โซเดียมไฮดรอกไซด์ สบู่
(
น้ำมันพืช ) (
โซดาไฟ )
โปรตีน
-โมเลกุลขนาดใหญ่
โครงสร้างซับซ้อน
-ช่วยเสริมสร้างและซ่อมแซมเนื้อเยื่อ
-ช่วยในการเจริญเติบโต
-รักษาสมดุลของน้ำ
และกรด – เบส
-เป็นส่วนประกอบของเอนไซม์
ฮอร์โมน ภูมิคุ้มกัน
-เป็นส่วนประกอบของเลือดในร่างกาย
-เกิดจากหน่วยย่อย
คือ กรดอะมิโนมากกว่า 50 หน่วยเชื่อมกันด้วยพันธะ เพปไทด์ (
peptide bond )
-มีโครงสร้างหลายแบบ
เช่น ฮีโมโกลบิน ในเม็ดเลือดแดงมีโครงสร้างเป็นก้อน
เคราตินในเล็บ
ผมและขนมีโครงสร้างเป็นเกลียว
3 เส้น
พันรวมกัน ดังภาพ
การแปลงสภาพโปรตีน
( denaturation of protein ) หมายถึง กระบวนการทำให้โปรตีนเปลี่ยน
โครงสร้างทางกายภาพ
ไม่สามารถทำงานได้เหมือนเดิมโดยการใช้ความร้อน สัมผัสกับสารละลายกรด
-เบส
หรือไอออนของโลหะหนัก
กรดอะมิโนที่จำเป็น
( essential amino acid ) หมายถึง กรดอะมิโนที่จำเป็นต่อร่างกาย
ร่างกายสังเคราะห์ไม่ได้
มี
8 ชนิด ได้แก่
ไลซีน ทริโอนีน ไอโซลิวซีน ลิวซีน ทริปโตเฟน เวลีน
เมไทโอนีน
ฟินิลอะลานีน
(
เด็กทารกต้องการอาร์จินีนกับ ฮิสติดีน เพิ่ม )
ไดแซกคาไรด์ (
น้ำตาลโมเลกุลคู่ )
- ซูโครส (
น้ำตาลทราย )
- มอลโทส (
ข้าวมอล์ท ข้าวโพด ) ใช้ผสมในอาหารทารก
-
แลกโตสมีในน้ำนม
พอลิแซกคาไรด์
คาร์โบไฮเดรตโมเลกุลใหญ่
แป้ง
–
โครงสร้างสายยาว และแบบกิ่งก้านสาขา
แป้ง เด็กซ์ตริน
( หวานเล็กน้อย
เหนียวแบบกาว )
เซลลูโลส
– ไม่ละลายน้ำ
-
ร่างกายของคนย่อยไม่ได้
วัว ควาย ม้า ย่อยได้
ไกลโคเจน
-
โครงสร้างเป็นลายมีกิ่งก้านสาขา
-
พบเฉพาะในคนและสัตว์
กรดนิวคลีอิก
กรดนิวคลีอิกแบ่งเป็น
2 ประเภท ได้แก่
1.
กรดดีออกซีไรโบนิวคลีอิก
( deoxyribonucleic acid : DNA
)
2.
กรดไรโบนิวคลีอิก
( ribonucleic acid : RNA )
เปรียบเทียบ
DNA และ RNA
รายการเปรียบเทียบ
DNA RNA
หน่วยย่อย
นิวคลีโอไทด์ นิวคลีโอไทด์
น้ำตาล
deoxyribose ribose
ความร้อน
เอกสารประกอบการบรรยายโครงการ
“สรุปเข้มโค้งสุดท้าย
โครงการ 3 .”
วิชา
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ชื่อผู้สอน รองศาสตราจารย์พเยาว์ ยินดีสุข
หน้า
6
ไนโตรเจนเบส เบส
4 ชนิด
Adenine – A
Quanine – G
Cytosine – C
Thymine - T
เบส
4 ชนิด
Adenine – A
Quanine – G
Cytosine – C
Uracil – U
การเชื่อมของเบส
A = T
C = G
A = U
C = G
หมู่ฟอสเฟต
ฟอสเฟต ฟอสเฟต
โครงสร้าง
นิวคลีโอไทด์
2 สายพันเป็น
เกลียว
นิวคลีโอไทด์สายเดี่ยว
แหล่งที่พบ
ในนิวเคลียส ในนิวเคลียสและไซโทพลาสซึม
หน้าที่
เป็นสารพันธุกรรม สังเคราะห์โปรตีน
บทที่
2 ปิโตรเลียม ( PETROLEUM )
น้ำมันปิโตรเลียม
หรือ น้ำมันดิบ
เป็นของเหลวที่มีสีดำคล้ำ
ซึ่งเกิดจากการทับถมของ
อินทรีย์สาร
ที่ถูกย่อยสลายโดยแบคทีเรีย แล้วทับถมอยู่ภายใต้ผิวโลกด้วยอุณหภูมิและความกดดันสูง
เป็นเวลานานนับล้าน
ๆ ปี
น้ำมันปิโตรเลียม
หรือ น้ำมันดิบยังใช้ประโยชน์ไม่ได้ เพราะ มีสารประกอบไฮโดรคาร์บอนหลาย
ชนิดซึ่งมีสมบัติแตกต่างกันผสมอยู่
การแยกสารประกอบไฮโดรคาร์บอนออกจากกันต้องใช้ กระบวนการ
กลั่นลำดับส่วน
โดยใช้หลักสารประกอบมีจุดเดือดต่างกัน
ส่วนประกอบของแก๊สธรรมชาติ
1.แก๊สมีเทน
ซึ่งมีคาร์บอน 1 อะตอมประมาณ 80 - 95 %
2.ไฮโดรคาร์บอนอื่น
ๆ เช่น อีเทน โพรเพน บิวเทน เพนเทน ซึ่งมีคาร์บอน 2 - 5 อะตอม
ประมาณ
5 - 20 %
เอกสารประกอบการบรรยายโครงการ
“สรุปเข้มโค้งสุดท้าย
โครงการ 3 .”
วิชา
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ชื่อผู้สอน รองศาสตราจารย์พเยาว์ ยินดีสุข
หน้า
7
3.ไอปรอท
แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ ไฮโดรเจนซิลไทด์ ไนโตรเจน ไอน้ำ ทั้งหมดนี้มีเพียง
เล็กน้อย
ประโยชน์ของแก๊สธรรมชาติ
แก๊สธรรมชาติ
ประโยชน์
มีเทน
ใช้เป็นเชื้อเพลิงในโรงไฟฟ้า ในอุตสาหกรรมซีเมนต์และเซรา
มิก รถแท็กซี่
รถเมล์ ข
.ส.ม.ก.
ใช้เป็นวัตถุดิบในอุตสาหกรรมปุ๋ยเคมี
โพรเพน และ
บิวเทน แก๊สหุงต้มในครัวเรือน
เพนเทน
เป็นตัวทำละลายในอุตสาหกรรมบางประเภท
อีเทน และ
โพรเพน อุตสาหกรรมผลิตเม็ดพลาสติกและเส้นใยสังเคราะห์
คาร์บอนไดออกไซด์
อุตสาหกรรมถนอมอาหาร น้ำอัดลม น้ำแข็งแห้ง
สารประกอบไฮโดรคาร์บอน
สารประกอบไฮโดรคาร์บอน
หมายถึง สารที่ประกอบด้วยธาตุ คาร์บอน และ ไฮโดรเจน เท่านั้น
เป็นสารที่ไม่ละลายน้ำ
แต่ละลายได้ดีในตัวทำละลายอินทรีย์บางชนิด และ เกิดปฏิกิริยาการเผาไหม้ได้ดี
สารประกอบไฮโดรคาร์บอนที่มีโมเลกุลเล็กที่สุด
คือ มีเทน ซึ่งเป็นแก๊สที่ให้พลังงานสะอาด ไม่
ก่อให้เกิดมลภาวะต่อสิ่งแวดล้อม
เผาไหม้แล้วไม่มีเถ้าถ่าน แก๊สพิษ หรือ ฝุ่นละออง
สารไฮโดรคาร์บอนอิ่มตัว
คือ
สารที่เกิดจากการรวมของธาตุไฮโดรเจนและคาร์บอน โดยมีพันธะ
ระหว่างคาร์บอนกับคาร์บอนเป็นพันธะเดี่ยวทั้งหมด
ซึ่งมีสูตรโมเลกุลเป็น
C
n H2n + 2 ตัวอย่าง เช่น โพรเพน ( C 3 H8 ) บิวเทน ( C 4 H10 ) ยกเว้นมีเทน ( C H4 )
ปฏิกิริยาการเผาไหม้
หมายถึง ปฏิกิริยาเคมีที่เกิดขึ้นระหว่างสารไฮโดรคาร์บอนกับออกซิเจน
ให้แก๊ส
คาร์บอนบอนไดออกไซด์กับน้ำ
ดังสมการ
CH
4 + 2O2 →CO2 + 2H2O + Energy
เอกสารประกอบการบรรยายโครงการ
“สรุปเข้มโค้งสุดท้าย
โครงการ 3 .”
วิชา
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ชื่อผู้สอน รองศาสตราจารย์พเยาว์ ยินดีสุข
หน้า
8
ปฏิกิริยานี้จะเกิดได้สมบูรณ์เมื่อมี
O2 เพียงพอแก่การเผาไหม้ ถ้ามี O2 ไม่เพียงพอ ทำให้
เกิดแก๊สคาร์บอนมอน๊อกไซด์
( CO ) ซึ่งเป็นแก๊สอันตรายต่อระบบหายใจ เนื่องจาก CO จะจับกับ
ฮีโมโกลบินอย่างเหนี่ยวแน่น
ทำให้ไม่มีฮีโมโกลบินไปจับกับ
O2 ดังนั้น เลือดจึงลำเลียงออกซิเจนไปสู่
เซลล์ไม่ได้
บทที่
3 พอลิเมอร์ ( Polymer )
พอลิเมอร์
( Polymer ) คือ สารประกอบที่โมเลกุลมีขนาดใหญ่มาก
เกิดจากโมเลกุลเดี่ยว
จำนวนตั้งแต่หลายพันจนถึงหลายหมื่นโมเลกุลมายึดต่อกันด้วยพันธะเคมี
แต่ละโมเลกุลเดี่ยวหรือหน่วย
ย่อยเรียกว่า
“
มอนอเมอร์ ( monomer ) ”
ประเภทของพอลิเมอร์
จำแนกตามการเกิด
1.พอลิเมอร์ธรรมชาติ
คือ สารชีวโมเลกุลที่เกิดขึ้นและมีอยู่ในธรรมชาติ เช่น แป้ง เซลลูโลส
โปรตีน ยางพารา
เป็นต้น
2.พอลิเมอร์สังเคราะห์
คือ พอลิเมอร์ที่มนุษย์สังเคราะห์ขึ้น โดยนำมอนอเมอร์มาทำปฏิกิริยา
เคมีภายใต้สภาวะที่เหมาะสม
เช่น เส้นใยสังเคราะห์ ยางสังเคราะห์ และ พลาสติก เป็นต้น
กระบวนการสังเคราะห์พอลิเมอร์
เรียกว่า การเกิดพอลิเมอร์
( polymerization )
nF
2C = CF2 2 2 ( )n −F C −CF − ( เทฟลอน ) ; n >1,500
พลาสติก
พลาสติกมีความสำคัญต่อชีวิตประจำวันมาก
เพราะ เครื่องมือ เครื่องอุปโภค อุปกรณ์ต่าง ๆ
ล้วนทำมาจากพลาสติก
หรือ มีพลาสติกเป็นส่วนประกอบ
พลาสติกแต่ละชนิดยังมีคุณสมบัติที่แตกต่างกัน
ขึ้นอยู่กับโครงสร้างและองค์ประกอบของ
มอนอเมอร์
พลาสติกจำแนกโดยใช้การเปลี่ยนแปลงเมื่อได้รับความร้อนเป็นเกณฑ์
ได้
2 ประเภท คือ
1.เทอร์มอพลาสติก
( thermoplastic : TP ) เป็นพลาสติกที่อ่อนตัวเมื่อได้รับความร้อนและเมื่อ
อุณหภูมิลดลงจะแข็งตัว
ถ้าให้ความร้อนอีกก็จะอ่อนตัวและสามารถทำให้กลับเป็นรูปร่างเดิมได้ โดย
คุณสมบัติของพลาสติกไม่เปลี่ยนแปลง
จึงสามารถนำกลับมาใช้ใหม่ได้ เช่น พอลิเอทิลีน พอลิโพรพิลีน
พอลิสไตรีน เป็นต้น
2.พลาสติกเทอร์มอเซต
( thermoset : TS ) เป็นพลาสติกที่เมื่อขึ้นรูปด้วยการผ่านความร้อน
หรือ
แรงดันแล้วจะไม่สามารถนำกลับมาขึ้นรูปเป็นผลิตภัณฑ์ได้อีก
เพราะเมื่อแข็งตัวแล้วจะมีความแข็ง
มาก
ทนต่อความร้อนและความดัน เปลี่ยนรูปร่างไม่ได้ แต่ถ้าอุณหภูมิมากจะแตกและไหม้เป็นเถ้า
เช่น
พอลิฟีนอลฟอร์มาดีไฮด์
พอลิเมลานีนฟอร์มาลดีไฮด์ เป็นต้น
พลาสติกที่ย่อยทางชีวภาพ
( biodegradable )
หมายถึง
พลาสติกที่ใช้แล้วสามารถย่อยสลายได้ด้วยจุ
ลินทรีย์
พลาสติกรีไซเคิล
( plastic recycle ) หมายถึง
พลาสติกที่ใช้แล้วสามารถนำกลับมาผ่านกระบวนการ
ผลิตทำให้นำกลับมาใช้ใหม่ได้
ยางสังเคราะห์
ยางธรรมชาติเป็นพอลิเมอร์ชนิดหนึ่ง
เกิดจากมอนอเมอร์ที่เรียกว่า ไอโซปรีน จำนวน
1,500 -
15,000
หน่วย
มารวมตัวทางเคมีเป็นพอลิไอโซปรีน
ยางมีโครงสร้างโมเลกุลเป็นขดม้วนเป็นวงและบิดเป็นเกลียวรูปร่างไม่แน่นอน
มีแรงดึงดูด
ระหว่างโซ่ของพอลิเมอร์สูง
จึงทำให้ยางมีสมบัติต่าง ๆ ดังนี้
1.ยางมีความยืดหยุ่นและต้านทานต่อแรงดึงสูง
2.เป็นฉนวนไฟฟ้าที่ดี
3.ทนต่อการขัดถู
ทนน้ำ น้ำมันพืชและสัตว์ ไม่ทนต่อน้ำมันเบนซินและตัวทำ
ละลายอินทรีย์
4.ที่อุณหภูมิต่ำ
ๆ จะแข็ง เปราะ แต่อ่อนตัวและเหนียวเมื่อได้รับความร้อน
ระเภทของยางแบ่งเป็น
2 ประเภท ดังนี้
1.ยางธรรมชาติ คือ
ยางที่พบทั่วไปในธรรมชาติ การปรับปรุงคุณภาพของยางธรรมชาติทำได้
โดยนำยางธรรมชาติมาทำปฏิกิริยากับกำมะถันที่อุณหภูมิสูงกว่าจุดหลอมเหลวของ
กำมะถัน
เรียกปฏิกิริยานี้ว่า
“
ปฏิกิริยาวัลคาไนเซซัน ”
2.ยางสังเคราะห์
เป็นยางที่ผลิตขึ้นจากผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมี เช่น เอทิลีน โพรพิลีน และ บิวทา
ไดอีน
ตัวอย่างเช่น
2.1ยาง IR ( Isoprene Rubber ) เป็นยางสังเคราะห์ที่มีโครงเหมือนธรรมชาติ คือ
มี
สิ่งเจือปนน้อย
คุณภาพสม่ำเสมอทั้งก้อน มีสีขาว นิยมใช้ทำจุกนมยาง และ
อุปกรณ์ทางการแพทย์
2.2ยาง SBR ( Styrene - Butadiene
Rubber ) เกิดจากมอนอเมอร์สไตรีนบิวตาได
อีนมารวมกันเป็นพอลิเมอร์
มีคุณสมบัติ คือ ทนทานต่อการขัดถูสูงมาก ทนต่อ
แรงดึงต่ำ
ใช้ทำพื้นรองเท้า ท่อสายยาง สายรัด สายพาน และ ยางปูพื้น เป็นต้น
เส้นใยสังเคราะห์
เส้นใยสังเคราะห์เกิดจากปฏิกิริยารวมตัวระหว่างมอนอเมอร์
2 ชนิด หรือ
เกิดจากการนำเส้นใย
ธรรมชาติซึ่งเป็นพอลิเมอร์ชนิดหนึ่ง
มาแปรรูปเป็นพอลิเมอร์อีกชนิดหนึ่งที่สมบัติต่างจากเดิม
การผลิตเส้นใยสังเคราะห์
ผสมปุยฝ้ายกับคอปเปอร์
( II ) คาร์บอเนต
แล้วเติมสารละลายแอมโมเนียเข้มข้นลงไปคนให้ทั่ว
จะได้ของเหลวสีน้ำเงินใส
เรียก
วิสคอส
นำหลอดฉีดยา ( เอาเข็มออกก่อน ) ดูดสารละลายแล้วนำเข็ม
ฉีดยามาใส่
แล้วฉีดอย่างแรงและเร็ว ลงในสารละลายกรดซัลฟิวริกเจือจาง จะได้เส้นใยเล็ก ๆ
สีน้ำเงิน ทิ้ง
ไว้สักครู่จะเกิดฟองก๊าซและสีของเส้นใยจางลง
เรียก เส้นใยวิสคอส หรือ คิวพรัมโมเนียมเรยอง
(
cuprummonium rayon )
หลักการทำเส้นใยวิสคอส
คือ
ละลายเซลลูโลส ในตัวทำละลายที่เหมาะสม แล้วนำมาทำปฏิกิริยากับ
สารเคมีได้สารละลาย
แล้วทำให้เป็นเส้นใย
ซิลิโคน
ซิลิโคน
เป็นพอลิเมอร์อนินทรีย์ กล่าวคือ เป็นสารที่ไม่ได้มีธาตุคาร์บอนและไฮโดรเจนเป็น
องค์ประกอบหลัก
ประกอบด้วยอะตอมของธาตุซิลิคอน
( Si ) กับออกซิเจน ( O ) มีพันธะหลักในโมเลกุล
เป็น
Si - O - Si จัดเป็นพันธะที่แข็งแรงมาก
บทที่
4 ปฏิกิริยาเคมี
ปฏิกิริยาเคมี
หมายถึง
ปฏิกิริยาที่เกิดจากกระบวนการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างของสารต่าง ๆ มีผลให้
พลังงานของระบบเปลี่ยนไป
และ ให้ผลิตภัณฑ์ หรือ สารใหม่เกิดขึ้น
สารเริ่มต้น
หรือ ตัวทำปฏิกิริยา
( reactant ) หมายถึง สารสองชนิดที่เข้าทำปฏิกิริยากันแล้ว
เกิดการเปลี่ยนแปลงกับโมเลกุลของสารเริ่มต้นทั้งสอง
โดยมีการแตกสลายพันธะเดิมและสร้างพันธะใหม่
เป็นผลทำให้เกิดสารใหม่ซึ่งมีสมบัติต่างจากเดิม
เรียกว่า
ผลิตภัณฑ์ ( Product )
ผลของการเปลี่ยนแปลงสังเกตได้จาก
1.ฟองแก๊ส
2.ตะกอน
3.ความร้อน
4.สีของสารละลาย
ปฏิกิริยาคายความร้อน
( exothermic reaction ) หมายถึง ปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นแล้วจะให้
พลังงานความร้อนออกมาสู่สิ่งแวดล้อม
ทำให้สิ่งแวดล้อมมีอุณหภูมิสูงขึ้น
ตัวอย่างปฏิกิริยาคายความร้อน
:
มะนาวกับดินสอพอง น้ำยาล้างห้องน้ำกับปูนยากระเบื้อง
การเผาไหม้ของแก๊สหุงต้ม
ปฏิกิริยาดูดความร้อน
( endothermic reaction ) หมายถึง ปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นแล้วจะดูด
ความร้อนจากสิ่งแวดล้อม
ทำให้สภาพแวดล้อมมีอุณหภูมิลดลง
ตัวอย่างปฏิกิริยาดูดความร้อน
:
การสลายของผงฟูให้แก๊ส 2 CO
ปฏิกิริยาการสังเคราะห์ด้วย
แสง
ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวัน
1.
ปฏิกิริยาการเผาไหม้ของเชื้อเพลิง
เช่น แก๊สหุงต้ม น้ำมันเชื้อเพลิง ถ่านหิน เป็นต้น
เชื้อเพลิงเหล่านี้ได้จากการกลั่นน้ำมันดิบ
ซึ่งมีกำมะถัน
( S ) ปนอยู่จึงเกิดปฏิกิริยาดังสมกา
S + O
2 SO2 ( ซัลเฟอร์ไดออกไซด์ )
2 SO
2 + O2 2 SO3 ( ซัลเฟอร์ไตรออกไซด์ )
SO
3 + H2O H2SO4 ( กรดซัลฟิวริก )
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น